มรดกอันล้ำค่าของชาวพวนนั้นคงจะไม่มีสิ่งใดจะยิ่งใหญ่ไปกว่าการมีภาษาพูดเป็นของตนเอง เพราะภาษาเป็นเครื่องชี้ว่ากลุ่มชนของเจ้าของภาษานั้นมีความเจริญเป็นอารยชน ลักษณะเด่นของคำพวน เช่นถ้าใช้ ก เป็นตัวสะกดจะไม่ออกเสียงตัวสะกด ดังเช่น หูก หู, ปาก เป็น ปะม แบก เป็น แบะ คำที่ใช้ ใ- ไม้ม้วนส่วนใหญ่จะออกเป็นเสียงสระเออ เช่น บ้านใต้ - บ้านเต้อม ใส่-เส่อม ให้-เห้อ ส่วนสระไ- ไม้มลายจะออกเสียงตามรูป เช่น ผัดไมยใส่ไข่ จะพูด ผัดไทยเส่อไข่ จะไม่พูดว่า ผัดเทอเส่อเข่อ ใช้เสียง ซ แทนเสียง ช เช่น ช้าง-ซ้าง, ช่วย-ช่อย ไม่มีเสียงควบกล้ำ ร ล ว ใช้ตัว ฮ แทน ร เช่น เรือน-เฮือนม เรา-เฮาม ร่ำเรียน-ฮ่ำเฮียน ในการพูดถึงคำไทยพวนในครั้งนี้จะขอยกตัวอย่างคำพวนที่น่าสนใจบางคำมาให้ศึกษากัน
ประวัติของไทยพวนศรีสัชนาลัย
วิถีชีวิตของไทยพวนศรีสัชนาลัย
วัฒนธรรมการแต่งกายของไทยพวน
ผ้าทอตีนจกเก้าลายไทยพวนศรีสัชนาลัย
งานประเพณี 12 เดือน
งานประเพณีที่มีการฉลอง
การเอาผัวเอาเมีย (การแต่งงาน)
อุปกรณ์การทอผ้าไทยพวนศรีสัชนาลัย
ขั้นตอนการทอผ้าไทยพวนศรีสัชนาลัย
รายการทั่วถิ่นแดนไทย ตอน สืบสานตำนานชาวไทยพวนบ้านหาดเสี้ยว
รายการเที่ยวละไมไทยแลนด์เวิลด์ ตอน เที่ยวศรีสัชนาลัย ชมวิถีชีวิตชาวสุโขทัย
รายการเพื่อนคู่คิด ตอน ธุรกิจผ้าซิ่นตีนจก
รายการ Thailand Intrend ตอน เยือนสุโขทัยเมืองมรดกโลก
รายการ Travel Note ตอน เที่ยวสุโขทัย
รายการกุสุมาพาทูตเที่ยวไทย ตอน สุโขทัย